“ผลลัพธ์ในภาพเป็นประสบการณ์เฉพาะบุคคล… ผลลัพธ์แต่ละคนอาจแตกต่างกัน”
VDO อธิบายโดยคุณหมอ จากรายการ พบหมอชะลอวัย –
รู้จักเบต้ากลูแคน Beta Glucan สุดยอดสารดูแลภูมิคุ้มกัน
“ผลลัพธ์ในภาพเป็นประสบการณ์เฉพาะบุคคล… ผลลัพธ์แต่ละคนอาจแตกต่างกัน”
สรุปการวิจัยทางการแพทย์ทั่วโลก
ประโยชน์ของสารเบต้ากลูแคน จากยีสตขนมปัง
ผลวิจัยด้านมะเร็งผิวหนัง:
“ขนาดของก้อนมะเร็งลดลงอย่างน่าอัศจรรย์ ภายเวลาเพียง 5 วัน ก้อนเนื้อขนาดเล็กหายไปหมด ขณะที่ก้อนใหญ่ลดขนาดลงมาก”
***นายแพทย์ปีเตอร์ แมนเซลล์ คณะแพทย์ มหาวิทยาลัยเบเลอร์ สหรัฐอเมริกา
Ref :J Natl Cancer Inst (1975) 54: 571-80
ผลวิจัยด้านเซลล์มะเร็ง:
“แม็คโครเฟจที่ถูกกระตุ้นโดยยีสต์ขนมปัง สามารถทำลายเซลล์มะเร็งได้หลายชนิด และสามารถสังเกตุพบตั้งแต่ 72-96 ชั่วโมง หลังได้รับเบต้ากลูแคน”
***ดร.เจ บอกวอล์ด สถาบันชีววิทยาทางการแพทย์ มหาวิทยาลัยทรอมโซ่ นอร์เวย์
Ref :Scand J Immuol (1982) 15: 297-304
ผลวิจัยด้านเคมีบำบัด-ฉายรังสี:
“การทานเบต้ากลูแคนจากยีสต์ขนมปังในช่วงระหว่างการทำเคมีบำบัดหรือการฉายรังสี จะช่วยให้เกิดการฟื้นตัวของเซลล์ในไขกระดูกและม้ามอย่างรวดเร็ว ช่วยต้านอนุมูลที่เกิดขึ้น และลดอันตรายจากทั้งสารเคมีและรังสี”
***ดร.วาแคลฟ เวทวิคก้า คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหลุยส์วิลล์ สหรัฐอเมริกา
Ref :Beta Glucan: Nature’s Secret 2nd Ed (2011)
ผลวิจัยด้านการผ่าตัด-ติดเชื้อ:
“กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับเบต้ากลูแคนจากยีต์ขนมปังทุกวันก่อนการผ่าตัด 1 สัปดาห์ มีการติดเชื้อ หลังผ่าตัดเพียง 9% และไม่พบการเสียชีวิต ในขณะที่กลุ่มที่ไม่ได้รับมีการติดเชื้อหลังผ่าตัดถึง 49% และเสียชีวิตถึง 29%”
Ref :Ann Surg (1990) 211: 605-12
ผลวิจัยด้านเสริมการทำงานยาปฏิชีวนะ:
“การใช้เบต้ากลูแคนร่วมกับยาปฏิชีวนะแอมพิซิลลินช่วยให้หนูที่มีการติดเชื้อรอดตาย มากกว่าการใช้แอมพิซิลลินเพียงอย่างเดียว”
***ดร.ซี อี นอร์ด มหาวิทยาลัยคาโรลินสกา สวีเดน
Ref :J Reticuloendothelial Soc (1982) 32: 347-53
ประโยชน์ที่เป็นจุดเด่นของสาร เบต้ากลูแคน ที่สกัดจากยีสต์ขนมปัง
- เพิ่มภูมิทานทาน จึงช่วยในผู้เจ็บป่วยบ่อยๆ โดยเฉพาะกับโรคติดเชื้อ เช่น
– การอักเสบ หนอง
– วัณโรค โรคทางเดินหายใจผิดปรกติ
– ไวรัสตับอักเสบบี
– ภูมิคุ้มกันบกพร่อม (HIV)
- ปรับสมดุลภูมิต้านทาน จึงช่วยในผู้ที่มีภาวะภูมิไว เช่น
– ผู้ที่เป็นภูมิแพ้, โรคหอบหืด, ไซนัส
– ภูมิแพ้ผิวหนัง, แพ้อากาศ, แพ้ฝุ่น, แพ้อาหาร, แพ้กลิ่น ฯลฯ
- ลดความเพี้ยนของภูมิทานทาน จึงช่วยในผู้มีภาวะภูมิทำร้ายตัวเอง เช่น
– โรคพุ่มพวง โรคภูมิคุ้มกันทำร้ายตัวเอง (SLE)
– โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis)
- ต้านเนื้อร้าย เซลลผิดปกติ จึงช่วยในผู้ป่วย
– โรคมะเร็ง
– ผู้ที่มีเนื้องอก และผู้ป่วยมะเร็งตั้งแต่ระยะเริ่มต้น ถึงมะเร็งลุกลาม
– ผู้ที่อยู่ในช่วงเคมีบำบัด หรือรังสีบำบัด คีโม
– ผู้ที่เคยเป็นมะเร็ง และต้องการเสริมภูมิคุ้มกัน เพื่อไม่ให้กลับมาเป็นอีก
- ลดการอักเสบภายในร่างกาย จึงช่วยในผู้ป่วย
– โรคม่านตาอักเสบ (Uveitis)
– โรคเหงือกอักเสบเรื้อรัง (Chronic Gingivitis)
– ต่อมไทรอยด์อักเสบ (Hashimoto’s Thyroiditis)
– โรคกระเพาะอาหารอักเสบ (Autoimmune Gastritis)
– โรคทางเดินอาหารอักเสบ (Inflammatory Bowel Disease)
– ผู้ป่วยก่อนเข้ารับการผ่าตัด
– ผู้ป่วยระยะพักฟื้น หลังการผ่าตัด
– ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
– โรคข้อเสื่อม (Rheumatoid Arthritis)
เบต้ากลูแคนจากยีสต์ กับ โรคไต
โดยทั่วไป ผู้ป่วยโรคไตจะมีข้อจำกัดมากในการดื่มและกิน ซึ่งต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัด มิฉะนั้นจะส่งผลเสียเพิ่มเติมต่อไต
เบต้ากลูแคน เป็นสารอาหารไม่กี่ชนิดที่มีการวิจัยแล้วว่าปลอดภัยต่อผู้ป่วยโรคไต ช่วยประคับประคองสุขภาพ เพิ่มภูมิต้านทาน ทำให้อยู่สภาพที่ดีต่อการบำบัดอย่างอื่นได้ เช่น ผู้ป่วยโรคไตที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูง หรือผู้ป่วยที่มีระดับความดันสูง หากผู้ป่วยมีระบบภูมิต้านทานที่สูงและตื่นตัวอยู่เสมอ จะช่วยลดการติดเชื้อในอวัยวะต่างๆ
_______________________________________________________________________________________
เบต้ากลูแคนจากยีสต์ กับ ภูมิแพ้
เบต้ากลูแคน ทำหน้าที่ปรับสมดุลภูมิต้านทานโรคที่ไวกว่าปกติ ยังช่วยยับยั้งปริมาณการสร้างสาร แอนติบอดี้ ที่มากเกินไป ช่วยเซลล์เม็ดเลือดขาว ไม่ให้ทำงานหนัก และยับยั้งการปล่อยอนุมูลอิสระออกมาทำร้ายเซลล์ร่างกาย จึงบรรเทาการตอบสนองอาการผิดปกติของการเป็นภูมิแพ้ได้
_______________________________________________________________________________________
เบต้ากลูแคนจากยีสต์ เพื่อสุขภาพผิว
เบต้ากลูแคน มีคุณสมบัติในการปรับสภาพเม็ดสีเมลามีนได้ดี ดังนั้นจึงสามารถเก็บกักและอุ้มน้ำไว้ในโครงสร้างของเซลล์
– ช่วยให้เซลล์ผิวชุ่มชื้น มีน้ำหล่อเลี้ยง ปกป้องผิวจากความแห้งกร้าน
– ป้องกันการติดเชื้อจุลินทรีย์ที่ผิวหนัง ลดการเกิดมะเร็งไฝ
– ช่วยลดการซึมซาบของรังสียูวีเข้าสู่ผิวหนัง
– ช่วยให้ผิวพรรณดูอ่อนกว่าวัย
– ช่วยลดและกำจัดอนุมูลอิสระในผิว
– ป้องกันการสร้าง เม็ดสีเมลานินซึ่งทำให้ผิวหมองคล้ำและเกิดจุดด่างดำ
– ป้องกันการแข็งตัวและกระตุ้นการสร้างเส้นใย คอลลาเจน และอิลาสติน
– และทำงานร่วมกับเซลล์เม็ดเลือดในผิวหนังช่วยกระตุ้นการผลัดเซลล์ผิวใหม่
_______________________________________________________________________________________
เบต้ากลูแคน กับ โรคมะเร็ง (Cancer)
เบต้ากลูแคน ทำหน้าที่ช่วยกระตุ้นและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของเม็ดเลือดขาว เมื่อเบต้ากลูแคนสัมผัสเซลล์ตัวรับที่บริเวณเยื้อหุ้มลำไส้ จะกระตุ้นให้เซลล์เม็ดเลือดขาวผลิตสารไซโตไคน์ (Cytokine) เพื่อทำลายเซลล์มะเร็ง ทั้งยังช่วยป้องกันเซลล์ดี และลดการเกิดอนุมูลอิสระ ดังนั้นจึงช่วยจำกัดขนาดของเซลล์มะเร็ง และลดอัตราเกิดใหม่ของเซลล์ร้าย
นอกจากนี้การใช้สารเบต้ากลูแคน ควบคู่กับการรักษาทางการแพทย์แผนปัจจุบัน เช่น การผ่าตัด การใช้เคมีบำบัด หรือฉายแสง จะช่วยให้ผู้ป่วยลดอาการข้างเคียงจากการรักษา และฟื้นฟูร่างกายได้ดีขึ้น
Reference ข้อมูลอ้างอิง:
Wikipedia.(2013). Astaxanthin(online). Available : http://en.wikipedia.org/wiki/Astaxanthin[October 28, 2013]
Shimidzu N, Goto M, and Miki W. Carotenoids as singlet oxygen quenchers in marine organisms. Fisheries Science. 1996; 62:134-7.
Bagchi, D. (2001). Oxygen free radical scavenging abilities of vitamins c, e, β-carotene, pycnogenol, grape seed proanthocyanidin extract and astaxanthins in vitro. Pharmacy Sciences Creighton University School of Health Sciences.
Yang, Y., Kim, B., & Lee, J. Y. (2013). Astaxanthin Structure, Metabolism, and Health Benefits.
Guerin, M., Huntley, M. E., & Olaizola, M. (2003). < i> Haematococcus</i> astaxanthin: applications for human health and nutrition. TRENDS in Biotechnology, 21(5), 210-216.
Yamashita, E. Astaxanthin as a Medical Food. Functional Foods in Health and Disease 2013; 3(7):254-258
Yamashita, E., (2002), Cosmetic benefit of the supplement health food combined astaxanthin and tocotrienol on human skin. Food Style 21 6(6):112-117.
Yamashita, E., (2006), The Effects of a Dietary Supplement Containing Astaxanthin on Skin Condition. Carotenoid Science, 10:91-95.
Nagaki Y., et al., (2002). Effects of astaxanthin on accommodation, critical flicker fusions, and pattern evoked potential in visual display terminal workers. J. Trad. Med., 19(5):170-173.
Sawaki, K. et al. (2002) Sports performance benefits from taking natural astaxanthin characterized by visual activity and muscle fatigue improvements in humans. J. Clin. Ther. Med., 18(9):73-88.
Nakamura et al. (2004). Changes in Visual Function Following Peroral Astaxanthin. Japan J. Clin. Opthal., 58(6):1051-1054.
Nitta et al. (2005). Effects of astaxanthin on accommodation and asthenopia – Dose finding study in healthy volunteers. J. Clin. Therap. Med., 21(6):637-650.
Shiratori et al. (2005). Effect of astaxanthin on accommodation and asthenopia – Efficacy identification study in healthy volunteers. J. Clin. Therap. Med., 21(5):543-556.
Nagaki et al., (2006). The supplementation effect of astaxanthin on accommodation and asthenopia. J. Clin. Therap. Med., 22(1):41-54.
Iwasaki & Tawara, (2006). Effects of Astaxanthin on Eyestrain Induced by Accommodative Dysfunction. Journal of Eye (Atarashii Ganka) (6):829-834.
Nakagawa, K., Kiko, T., Miyazawa, T., Carpentero Burdeos, G., Kimura, F., Satoh, A., & Miyazawa, T. (2011). Antioxidant effect of astaxanthin on phospholipid peroxidation in human erythrocytes. British Journal of Nutrition,105(11), 1563-1571.
Capelli, R., & Cysewski, G. R. (2011). The Neuroprotective Effect of Astaxanthin.